ดูหน้า
ดูหน้า
Thinking Skills - การวิเคราะห์ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
การวิเคราะห์ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
(Systematic Problem Solving & Decision Making)
หลักการและเหตุผล
ปัญหาเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งในการบริหาร และการจัดการ (Problem is a nature or Management) ฉะนั้นผู้ที่เป็นนักบริหารจะต้องไม่วิ่งหนีปัญหาไม่ปฏิเสธที่จะศึกษาปัญหา และไม่ปฏิเสธว่า “ไม่มีปัญหา” เพราะการไม่มีปัญหาเป็นสัญญาณอันตรายในการบริหารองค์กร ความสามารถในการแก้ปัญหา การตัดสินใจ หรือการจัดการกับเรื่องต่างๆ เป็นรากฐานสำคัญต่อความสำเร็จในการทำงาน และการดำเนินชีวิต แต่เป็นเรื่องน่าเสียดาย ที่เราไม่ค่อยประสิทธิภาพ
เราจึงได้จัดทำหลักสูตรนี้ เพื่อช่วยท่านและทีมงานเพิ่มพูนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการแก้ปัญหา และตัดสินใจ โดยสามารถนำกระบวนการคิด และการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผล ไปใช้ในการบริหารจัดการ ดำเนินธุรกิจให้ประสบผลสำเร็จยิ่งๆ ขึ้นไป
เนื้อหา
- ความหมายของคำว่า “ปัญหา”
- ประเภทของปัญหา
- การประเมินสถานการณ์ (Situation Assessment)
- ระบุเรื่องที่เกี่ยวข้อง (Identify Concern)
- ทำประเด็นให้ชัดเจน (Clarify Concern)
- จัดลำดับความสำคัญ (Prioritize Issue)
- เลือกวิธีการที่จะใช้ (Choose Methodology)
- วางแผนผู้ที่เกี่ยวข้อง (Plan Involvement)
- การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
- ระบุปัญหาให้ชัดเจน (Define Problem)
- รวบรวมข้อเท็จจริงของปัญหา (Problem Specification)
- ค้นหาสาเหตุที่เป็นไปได้ (Identify Possible Cause)
- ประเมินสาเหตุที่เป็นไปได้ (Test Possible Cause)
- ยืนยันสาเหตุที่แท้จริง (Confirming the true Cause)
- การวิเคราะห์การตัดสินใจ (Decision Analysis)
- กำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน (Clarify Purpose)
- กำหนดหลักเกณฑ์ (Set Criteria)
- จำแนกประเภทของหลักเกณฑ์ (Categorize Criteria)
- กำหนดความสำคัญ (Assign Importance)
iii. ทบทวนหลักเกณฑ์ (Review Criteria)
- ประเมินทางเลือก (Evaluate Alternatives)
- สรรหาทางเลือก (Identify Choices)
- เปรียบเทียบทางเลือก (Compare Alternatives)
- ตัดสินใจเลือก (Make Decision)
- การวิเคราะห์ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น (Potential Problem Analysis)
- ตระหนักถึงปัญหาที่อาจจะเกิด (Identify Potential Problems)
- ระบุสาเหตุที่อาจจะทำให้เกิดปัญหา (Identify Potential Causes)
- ระบุมาตรการป้องกัน (Identify Preventive Actions)
- ระบุผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น (Identify Potential Effects)
- ระบุมาตรการรับมือ และสัญญาณเตือน (Identify Contingency Actions & Signals)
รูปแบบการฝึกอบรม
การสัมมนาโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ดังนั้นการฝึกอบรมจึงมีองค์ประกอบหลากหลายรูปแบบ ทั้งการนำอภิปราย การบรรยาย กรณีศึกษา บทบาทสมมติ การเปิดโอกาสให้ถามคำถาม และตลอดทั้งการฝึกอบรม จะมีเกมส์ กิจกรรม มาช่วยสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม โต้ตอบกันอยู่ตลอดเวลา ผู้เข้าอบรมจะเต็มเปี่ยมด้วยสาระ ความรู้ ความสนุกสนานต่อการเรียนรู้ รวมทั้งกำลังใจ แรงบันดาลใจที่วิทยากรได้สอดแทรกให้ตลอดการฝึกอบรม
วิทยากร
อาจารย์ไววิทย์ แสงอลังการ
16 มีนาคม 2563
ผู้ชม 3972 ครั้ง