ดูหน้า
ดูหน้า
Productivity & Business Development - DFMEA & PFMEA
หลักสูตร DFMEA & PFMEA
หลักการและเหตุผล
การวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ เป็นกระบวนการหนึ่งที่จำเป็นสำหรับการป้องกันข้อบกพร่องซึ่งอาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยอาศัยการศึกษาข้อมูลย้อนหลังและสภาพการในปัจจุบัน และประเมินค่าระดับความสำคัญในการป้องกัน เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบ “แผนควบคุม” สำหรับนำไปใช้เป็นแนวทางควบคุมกิจกรรมการปฏิบัติงานไม่ให้เกิดปัญหา ผู้ที่ดำเนินการวิเคราะห์ FMEA จึงจำเป็นต้องทราบแนวทางและวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสมเพื่อทำให้เกิดการวิเคราะห์ที่มีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ DFMEA และ PFMEA
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทักษะในการศึกษาและรวบรวมข้อมูลรวมถึงการประเมินค่าต่าง ๆ ในแต่ละกระบวนการของ FMEA
เนื้อหา
วันที่ 1
- หลักการและแนวคิดพื้นฐาน
- ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ FMEA
- วัตถุประสงค์ของ FMEA
- ความหมายหมายของ FMEA
- ประเภทของ FMEA
การวิเคราะห์ DFMEA
- ขั้นตอนการวิเคราะห์ DFMEA
- ข้อมูลป้อนเข้าสำหรับการประเมิน DFMEA
- 1. Block Diagram
- 2. เป้าหมายของการออกแบบ Design Product
- 3. ข้อมูล Function และข้อมูลด้านคุณภาพ
- เกณฑ์และเทคนิคการประเมิน DFMEA
- แนวทางการป้องกันข้อบกพร่องในการออกแบบ
- แนวทางในการตรวจจับข้อพบพร่องในการออกแบบ
- การจัดลำดับความสำคัญและแนวทางป้องกัน
- Workshop
วันที่ 2
- หลักการและแนวคิดพื้นฐาน
- ความเข้าใจพื้นฐานและวัตถุประสงค์ของการทำ FMEA
- ประเภทของ FMEA และ FORM ที่เกี่ยวข้อง
- ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการของDFMEA กับ PFMEA
การวิเคราะห์ PFMEA
- ขั้นตอนการวิเคราะห์ PFMEA
- ข้อมูลป้อนเข้าสำหรับการประเมิน PFMEA
- 1. การศึกษา Process Flow Chart
- 2. จุด SC และ Characteristic Matrix
- 3. ข้อมูลด้านคุณภาพ
- เกณฑ์และเทคนิคการประเมิน PFMEA
- Poka Yoke 3 ระดับในการประเมิน PFMEA
- การจัดลำดับความสำคัญและแนวทางป้องกัน
- Workshop
รูปแบบการฝึกอบรม
บรรยาย และ Workshop กรณีศึกษา ฝึกปฏิบัติ
การประเมินผล
- การทดสอบความรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม (Pre test - Post test)
- มีระบบการประเมินผลในการฝึกอบรม และนำมาวิเคราะห์เพื่อชี้วัดความสำเร็จ
ระยะเวลา
2 วัน
16 มีนาคม 2563
ผู้ชม 4754 ครั้ง